ถวายรองเท้าพระสงฆ์ ได้อานิสงส์แรง
ทราบหรือไม่ การทำบุญถวายรองเท้าให้กับพระภิกษุสงฆ์ หรือแม้กระทั่งการบริจาคทานให้แก่ผู้ที่ยากไร้ไม่มีรองเท้าใส่ จะส่งผลให้เป็นผู้ที่มีบริวารมาก จะมีคนคอยให้ความช่วยเหลือและเชิดชูเป็นอย่างดี ในเรื่องของโรคที่เกี่ยวกับเท้าก็จะหมดไป ไม่มีปัญหาในเรื่องนี้เลย และถ้าหากต้องการที่จะท่องเที่ยวไปตามสถานที่ต่างๆ ก็จะสามารถทำได้อย่างง่าย ได้ถึงจุดหมายได้อย่างปลอดภัย เพราะจะได้เป็นนักเดินทางที่มีชื่อเสียง ตลอดการเดินทางก็จะได้เรียนรู้ และศึกษาสิ่งต่างๆ ที่พบเห็นรอบตัวได้อย่างดีเยี่ยม ดังจะเห็นได้จากปานธิทายกเถราปทานที่ ๙ (๔๗๙) ว่าด้วยผลแห่งการถวายรองเท้า ในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม ๙ ภาค ๑ - ๑๑๓

พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า อโนมทัสสี เชษฐบุรุษของโลก ประเสริฐกว่านรชน ทรงสวมรองเท้าแล้ว ได้ตรัสพระดำรัสนี้ว่า
ผู้ใดเลื่อมใสถวายคู่รองเท้าแกเรา ด้วยมือทั้งสองของตน เราจักพยากรณ์ผู้นั้น ท่านทั้งหลายจงฟังเรากล่าว เทวดาทุกๆ องค์ได้ทราบพระพุทธเจ้าดำรัสแล้ว มาประชุมกัน ต่างก็มีจิตปีติ ดีใจเกินความโทมนัส ประนมกรอัญชลี
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า เพราะการถวายรองเท้านี้แล ผู้นี้จักเป็นผู้ถึงความสุข จักเสวยราชสมบัติในเทวโลก ๕๕ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิราช ๑,๐๐๐ ครั้ง และจักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์โดยคณนานับมิได้ ในกัปซึ่งนับไม่ถ้วนแต่กัปนี้ไป จักทรงสมภพในสกุลโอกกากะ มีพระนามว่าโคดม จักเสด็จอุบัติขึ้นเป็นพระศาสดาของโลก ผู้นี้จักเป็นทายาทในธรรมของพระศาสดาพระองค์นั้น เป็นโอรสอันธรรมเนรมิต จักกำหนดรู้อาสวะทั้งปวงแล้ว จักเป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน ผู้นี้บังเกิดในเทวโลกหรือในมนุษย์โลก จักเป็นผู้มีปัญญา จักได้ยานอันเปรียบด้วยยานของเทวดา ปราสาท วอ ช้าง ที่ประดับประดาแล้วและรถที่เทียมแล้วด้วยม้าอาชาไนย ย่อมเกิดปรากฎแก่เราทุกเมื่อ แม้เมื่อเราออกบวช ก็ได้ออกบวชด้วยรถ ได้บรรลุอรหัตเมื่อกำลังปลงผม นี้เป็นลาภของเรา เราได้ดีแล้ว คือการค้าขายเราได้ประกอบถูกทางแล้ว เราถวายรองเท้าคู่หนึ่งจึงได้บรรลุบทอันไม่หวั่นไหว ในกัปอันประมาณมิได้แต่กัปนี้ เราได้ถวายรองเท้าใด ด้วยการถวายรองเท้านั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายรองเท้า เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว...คำสอนของพระพุทธเจ้าเราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
ขอบคุณที่มา : samyaek.com/board
ถึงแม้การถวายรองเท้าพระสงฆ์นั้น จะมีอานิสงส์มากมาย แต่อย่าลืมศึกษาว่า รองเท้าที่ถูกพระวินัยไม่อาบัติ และพระสงฆ์ใช้ได้นั้นเป็นอย่างไร จากการที่ได้ศึกษาพระวินัยของสงฆ์ รองเท้าที่ไม่ขัดต่อพระวินัย ถูกต้องตามข้อกำหนดพระวินัยสงฆ์ จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้
๑. เป็นชั้นรองเท้าที่กำหนดให้เป็นชั้นเดียว
๒. สีของรองเท้าต้องเป็นสีกรักไม้ และสีแก่นขนุน และเป็นหูหนีบ
และเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้ลึกรู้จริง เกี่ยวกับเรื่องรองเท้าประเภทที่พระใส่แล้วไม่ต้องปลงอาบัติ จึงขอนำข้อมูลพระวินัยเรื่องรองเท้า มาให้ทุกท่านได้อ่านและศึกษากันค่ะ เพื่อที่เวลาถวายรองเท้าพระ พระท่านสวมใส่จะได้ไม่ต้องปลงอาบัติ จะได้ "อิ่มบุญผู้ให้ สุขใจผู้รับ"
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒
ทรงอนุญาตรองเท้า
[๕] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาค รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ด้วยวิธีอย่างนี้แล ภิกษุทั้งหลาย ที่พวกกุลบุตรพยากรณ์อรหัตกล่าวแต่เนื้อความ และไม่น้อมเข้าไปหาตน ก็แต่ว่าโมฆบุรุษบางจำพวกในธรรมวินัยนี้พยากรณ์อรหัต ทำทีเหมือนเป็นของสนุก ภายหลังต้องทุกข์เดือดร้อน ดังนี้. ต่อแต่นั้นพระองค์รับสั่งกะท่านพระโสณะว่า ดูกรโสณะ เธอเป็นสุขุมาลชาติ เราอนุญาตรองเท้าชั้นเดียวแก่เธอ.
ท่านพระโสณะกราบทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้าละเงินประมาณ ๘๐ เล่มเกวียน และละกองพลกอปรด้วยช้าง ๗ เชือก ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว จักมีผู้กล่าวแก่พระพุทธเจ้าว่า โสณโกฬิวิสะละเงินประมาณ ๘๐ เล่มเกวียน และละกองพลกอปรด้วยช้าง ๗ เชือก ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว เดี๋ยวนี้ยังข้องอยู่ในเรื่องรองเท้าชั้นเดียว ถ้าพระผู้มีพระภาคจักได้ทรงอนุญาตแก่พระภิกษุสงฆ์ แม้ข้าพระพุทธเจ้าจักใช้สอย ถ้าจักไม่ทรงอนุญาตแก่พระภิกษุสงฆ์ แม้ข้าพระพุทธเจ้าก็จักไม่ใช้สอย พระพุทธเจ้าข้า.
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตรองเท้าชั้นเดียว ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้า ๒ ชั้น ไม่พึงสวมรองเท้า ๓ ชั้น ไม่พึงสวมรองเท้าหลายชั้น รูปใดสวมต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมรองเท้าสีต่างๆ
[๖] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้าสีเขียวล้วน .... สวมรองเท้าสีเหลืองล้วน .... สวมรองเท้าสีแดงล้วน .... สวมรองเท้าสีบานเย็นล้วน .... สวมรองเท้าสีดำล้วน .... สวมรองเท้าสีแสดล้วน .... สวมรองเท้าสีชมพูล้วน ชาวบ้านพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าสีเขียวล้วน ไม่พึงสวมรองเท้าสีเหลืองล้วน ไม่พึงสวมรองเท้าสีแดงล้วน ไม่พึงสวมรองเท้าสีบานเย็นล้วน ไม่พึงสวมรองเท้าสีดำล้วน ไม่พึงสวมรองเท้าสีแสดล้วน ไม่พึงสวมรองเท้าสีชมพูล้วน รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฎ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมรองเท้ามีหูไม่สมควร
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้ามีหูสีเขียว .... สวมรองเท้ามีหูสีเหลือง .... สวมรองเท้ามีหูสีแดง .... สวมรองเท้ามีหูสีบานเย็น .... สวมรองเท้ามีหูสีดำ .... สวมรองเท้ามีหูสีแสด .... สวมรองเท้ามีหูสีชมพู ชาวบ้านพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีเขียว ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีเหลือง ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีแดง ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีบานเย็น ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีดำ ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีแสด ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีชมพู รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฎ.
พระพุทธบัญญัติทรงห้ามสวมรองเท้าบางชนิด
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้าติดแผ่นหนังหุ้มส้น .... สวมรองเท้าหุ้มแข้ง .... สวมรองเท้าปกหลังเท้า .... สวมรองเท้ายัดนุ่น .... สวมรองเท้ามีหูลายคล้ายขนปีกนกกระทา .... สวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแกะ .... สวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแพะ .... สวมรองเท้าที่ทำประกอบหูงอนดุจหางแมลงป่อง .... สวมรองเท้าที่เย็บด้วยปีกนกยูง .... สวมรองเท้าอันวิจิตร คนทั้งหลายเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าติดแผ่นหนังหุ้มส้น ไม่พึงสวมรองเท้าหุ้มแข้ง ไม่พึงสวมรองเท้าปกหลังเท้า ไม่พึงสวมรองเท้ายัดนุน ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูลายคล้ายขนปีกนกกระทา ไม่พึงสวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแกะ ไม่พึงสวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแพะ ไม่พึงสวมรองเท้าที่ทำประกอบหูงอนดุจหางแมลงป่อง ไม่พึงสวมรองเท้าที่เย็บด้วยขนปีกนกยูง ไม่พึงสวมรองเท้าที่อันวิจิตร รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติทรงห้ามสวมรองเท้าขลิบหนัง
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังราชสีห์ .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือโคร่ง .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือเหลือง .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังชะมด .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนาก .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังแมว .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังค่าง .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนกเค้า คนทั้งหลายเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังราชสีห์ ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือโคร่ง ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือเหลือง ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังชะมด ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนาก ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังแมว ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังค่าง ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนกเค้า รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
ทรงอนุญาตรองเท้าหลายชั้นที่ใช้แล้ว
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้ามีหูสีเขียว .... สวมรองเท้ามีหูสีเหลือง .... สวมรองเท้ามีหูสีแดง .... สวมรองเท้ามีหูสีบานเย็น .... สวมรองเท้ามีหูสีดำ .... สวมรองเท้ามีหูสีแสด .... สวมรองเท้ามีหูสีชมพู ชาวบ้านพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีเขียว ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีเหลือง ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีแดง ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีบานเย็น ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีดำ ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีแสด ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูสีชมพู รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฎ.
พระพุทธบัญญัติทรงห้ามสวมรองเท้าบางชนิด
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้าติดแผ่นหนังหุ้มส้น .... สวมรองเท้าหุ้มแข้ง .... สวมรองเท้าปกหลังเท้า .... สวมรองเท้ายัดนุ่น .... สวมรองเท้ามีหูลายคล้ายขนปีกนกกระทา .... สวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแกะ .... สวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแพะ .... สวมรองเท้าที่ทำประกอบหูงอนดุจหางแมลงป่อง .... สวมรองเท้าที่เย็บด้วยปีกนกยูง .... สวมรองเท้าอันวิจิตร คนทั้งหลายเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าติดแผ่นหนังหุ้มส้น ไม่พึงสวมรองเท้าหุ้มแข้ง ไม่พึงสวมรองเท้าปกหลังเท้า ไม่พึงสวมรองเท้ายัดนุน ไม่พึงสวมรองเท้ามีหูลายคล้ายขนปีกนกกระทา ไม่พึงสวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแกะ ไม่พึงสวมรองเท้าที่ทำหูงอนมีสัณฐานดุจเขาแพะ ไม่พึงสวมรองเท้าที่ทำประกอบหูงอนดุจหางแมลงป่อง ไม่พึงสวมรองเท้าที่เย็บด้วยขนปีกนกยูง ไม่พึงสวมรองเท้าที่อันวิจิตร รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติทรงห้ามสวมรองเท้าขลิบหนัง
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังราชสีห์ .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือโคร่ง .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือเหลือง .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังชะมด .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนาก .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังแมว .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังค่าง .... สวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนกเค้า คนทั้งหลายเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังราชสีห์ ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือโคร่ง ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังเสือเหลือง ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังชะมด ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนาก ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังแมว ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังค่าง ไม่พึงสวมรองเท้าขลิบด้วยหนังนกเค้า รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
ทรงอนุญาตรองเท้าหลายชั้นที่ใช้แล้ว
[๗] ครั้งนั้น เวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธดำเนินเข้าไปบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มีภิกษุรูปหนึ่งเป็นปัจฉาสมณะ แต่ภิกษุรูปนั้นเดินเขยกตามพระผู้มีพระภาคไปเบื้องพระปฤษฎางค์ อุบาสกคนหนึ่งสวมรองเท้าหลายชั้น ได้เห็นพระผู้มีพระภาคกำลังเสด็จพระพุทธดำเนินมาแต่ไกลเทียว ครั้นแล้วจึงถอดรองเท้า เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วเข้าไปหาภิกษุรูปนั้น อภิวาทแล้วจึงได้ถามว่า เพราะอะไรพระผู้เป็นเจ้าจึงเดินเขยก ขอรับ?
ภิกษุรูปนั้นตอบว่า เพราะเท้าทั้งสองของอาตมาแตกจ้ะ.
อุ. นิมนต์พระผู้เป็นเจ้ารับรองเท้า ขอรับ.
ภิ. อย่าเลย ท่าน เพราะพระผู้มีพระภาคทรงห้ามรองเท้าหลายชั้น.
พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า เธอรับรองเท้านั้นได้ ภิกษุ.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตรองเท้าหลายชั้นที่ใช้แล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย รองเท้าหลายชั้นที่ใหม่ ภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฎ.
ห้ามสวมรองเท้าในที่บางแห่ง
[๘] ก็โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคมิได้ทรงฉลองพระบาทเสด็จพระดำเนินอยู่ในที่แจ้ง ภิกษุเถระทั้งหลายทราบว่า พระศาสดามิได้ทรงฉลองพระบาทเสด็จพระพุทธดำเนินอยู่ ดังนี้ จึงเดินไม่สวมรองเท้า เมื่อพระศาสดาเสด็จพระพุทธดำเนินมิได้ทรงฉลองพระบาท แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า แต่พระฉัพพัคคีย์เดินสวมรองเท้า บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จพระพุทธดำเนินมิได้ทรงฉลองพระบาท แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้สวมรองเท้าเล่า? แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าเมื่อเราผู้ศาสดาเดินมิได้สวมรองเท้า แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า แต่พระฉัพพัคคีย์เดินสวมรองเท้าจริงหรือ? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า จริงพระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเราผู้ศาสดาเดินมิได้สวมรองเท้า แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า แต่ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้เดินสวมรองเท้าเล่า อันคฤหัสถ์ชื่อเหล่านี้นุ่งห่มผ้าขาว ยังมีความเคารพ มีความยำเกรง มีความประพฤติเสมอภาค ในอาจารย์ทั้งหลาย เพราะเหตุแห่งศิลปะซึ่งเป็นเครื่องเลี้ยงชีพอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พึงงามในธรรมวินัยนี้เป็นแน่ ถ้าพวกเธอบวชในธรรมวินัยอันเรากล่าวดีแล้วอย่างนี้ จะพึงมีความเคารพ มีความยำเกรง มีความประพฤติเสมอภาพ อยู่ในอาจารย์ ในภิกษุปูนอาจารย์ ในอุปัชฌายะ ในภิกษุปูนอุปัชฌายะ การกระทำของเหล่าโมฆบุรุษนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่ออาจารย์ ภิกษุปูนอาจารย์ อุปัชฌายะ ภิกษุปูนอุปัชฌายะ เดินมิได้สวมรองเท้า ภิกษุไม่พึงเดินสวมรองเท้า รูปใดเดินสวมรองเท้า ต้องอาบัติทุกกฏ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าภายในอาราม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุอาพาธเป็นหน่อที่เท้า
ภิกษุรูปนั้นตอบว่า เพราะเท้าทั้งสองของอาตมาแตกจ้ะ.
อุ. นิมนต์พระผู้เป็นเจ้ารับรองเท้า ขอรับ.
ภิ. อย่าเลย ท่าน เพราะพระผู้มีพระภาคทรงห้ามรองเท้าหลายชั้น.
พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า เธอรับรองเท้านั้นได้ ภิกษุ.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตรองเท้าหลายชั้นที่ใช้แล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย รองเท้าหลายชั้นที่ใหม่ ภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฎ.
ห้ามสวมรองเท้าในที่บางแห่ง
[๘] ก็โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคมิได้ทรงฉลองพระบาทเสด็จพระดำเนินอยู่ในที่แจ้ง ภิกษุเถระทั้งหลายทราบว่า พระศาสดามิได้ทรงฉลองพระบาทเสด็จพระพุทธดำเนินอยู่ ดังนี้ จึงเดินไม่สวมรองเท้า เมื่อพระศาสดาเสด็จพระพุทธดำเนินมิได้ทรงฉลองพระบาท แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า แต่พระฉัพพัคคีย์เดินสวมรองเท้า บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จพระพุทธดำเนินมิได้ทรงฉลองพระบาท แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้สวมรองเท้าเล่า? แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าเมื่อเราผู้ศาสดาเดินมิได้สวมรองเท้า แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า แต่พระฉัพพัคคีย์เดินสวมรองเท้าจริงหรือ? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า จริงพระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเราผู้ศาสดาเดินมิได้สวมรองเท้า แม้เมื่อภิกษุผู้เถระทั้งหลายเดินก็ไม่สวมรองเท้า แต่ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้เดินสวมรองเท้าเล่า อันคฤหัสถ์ชื่อเหล่านี้นุ่งห่มผ้าขาว ยังมีความเคารพ มีความยำเกรง มีความประพฤติเสมอภาค ในอาจารย์ทั้งหลาย เพราะเหตุแห่งศิลปะซึ่งเป็นเครื่องเลี้ยงชีพอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พึงงามในธรรมวินัยนี้เป็นแน่ ถ้าพวกเธอบวชในธรรมวินัยอันเรากล่าวดีแล้วอย่างนี้ จะพึงมีความเคารพ มีความยำเกรง มีความประพฤติเสมอภาพ อยู่ในอาจารย์ ในภิกษุปูนอาจารย์ ในอุปัชฌายะ ในภิกษุปูนอุปัชฌายะ การกระทำของเหล่าโมฆบุรุษนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่ออาจารย์ ภิกษุปูนอาจารย์ อุปัชฌายะ ภิกษุปูนอุปัชฌายะ เดินมิได้สวมรองเท้า ภิกษุไม่พึงเดินสวมรองเท้า รูปใดเดินสวมรองเท้า ต้องอาบัติทุกกฏ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมรองเท้าภายในอาราม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุอาพาธเป็นหน่อที่เท้า
[๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธเป็นหน่อที่เท้า ภิกษุทั้งหลายพยุงภิกษุรูปนั้นให้ถ่ายอุจจาระบ้าง ให้ถ่ายปัสสาวะบ้าง พระผู้มีพระภาคเสด็จเที่ยวจาริกตามเสนาสนะ ได้ทอดพระเนตรเห็นพวกภิกษุกำลังพยุงภิกษุรูปนั้นให้ถ่ายอุจจาระบ้าง ให้ถ่ายปัสสาวะบ้าง จึงเสด็จเข้าไปใกล้ภิกษุพวกนั้น แล้วได้ตรัสถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้อาพาธเป็นอะไร? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ท่านรูปนี้อาพาธเป็นหน่อที่เท้า พวกข้าพระพุทธเจ้าต้องพยุงท่านรูปนี้ให้ถ่ายอุจจาระบ้าง ให้ถ่ายปัสสาวะบ้าง พระพุทธเจ้าข้า.
พระพุทธานุญาตให้สวมรองเท้าเป็นพิเศษ
[๑๐] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุท้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้มีเท้าชอกช้ำ หรือมีเท้าแตก หรืออาพาธมีหน่อที่เท้า สวมรองเท้าได้
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายมีเท้ามิได้ล้าง ขึ้นเตียงบ้าง ขึ้นตั่งบ้าง ทั้งจีวร ทั้งเสนาสนะย่อมเสียหาย พวกภิกษุจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สวมรองเท้าในขณะที่คิดว่าประเดี๋ยวจักขึ้นเตียงหรือขึ้นตั่ง.
สมัยต่อมา เวลากลางคืน ภิกษุทั้งหลายเดินไปสู่โรงอุโบสถก็ดี สู่ที่ประชุมก็ดี ย่อมเหยียบตอบ้าง หนามบ้าง ในที่มืด เท้าทั้งสองได้รับบาดเจ็บ ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภายในอาราม เราอนุญาตให้สวมรองเท้า และใช้คบเพลิง ประทีป ไม้เท้าได้.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าไม้
ครั้นต่อมา ถึงเวลาปัจุสมัยแห่งราตรี พระฉัพพัคคีย์ลุกขึ้นสวมเขียงเท้าที่ทำด้วยไม้แล้วเดินอยู่กลางแจ้ง มีเสียงขฏะขฏะ ดังอึกทึก กล่าวดิรัจฉานกถา มีเรื่องต่างๆ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร เรื่องมหาอำมาตย์ เรื่องขุนพล เรื่องภัย เรื่องรบ เรื่องข้าว เรื่องน้ำ เรื่องผ้า เรื่องที่นอน เรื่องดอกไม้ เรื่องของหอม เรื่องญาติ เรื่องยาน เรื่องบ้าน เรื่องนิคม เรื่องนคร เรื่องชนบท เรื่องสตรี เรื่องบุรุษ เรื่องคนกล้าหาญ เรื่องตรอก เรื่องท่าน้ำ เรื่องคนที่ล่วงลับไปแล้ว เรื่องเบ็ดเตล็ด เรื่องโลก เรื่องทะเล เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วยประการนั้นๆ เหยียบแมลงตายเสียบ้าง ยังภิกษุทั้งหลายให้เคลื่อนจากสมาธิบ้าง บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย .... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์ เมื่อเวลาปัจจุสมัยแห่งราตรี ได้ลุกขึ้นสวมเขียงเท้าที่ทำด้วยไม้แล้วเดินอยู่กลางแจ้ง มีเสียงขฏะขฏะ ดังอึกทึก กล่าวดิรัจฉานกถา มีเรื่องต่างๆ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร .... เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วยประการนั้นๆ เหยียบแมลงตายเสียบ้าง ยังภิกษุทั้งหลายให้เคลื่อนจากสมาธิบ้าง แล้วจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุฉัพพัคคีย์ เมื่อปัจจุสมัยแห่งราตรี ได้ลุกขึ้นสวมเขียงเท้าที่ทำด้วยไม้ แล้วเดินอยู่กลางแจ้ง มีเสียงขฏะขฏะดังอักทึก กล่าวดิรัจฉานกถา มีเรื่องต่างๆ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร .... เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วยประการนั้นๆ เหยียบแมลงตายเสียบ้าง ยังภิกษุทั้งหลายให้เคลื่อนจากสมาธิบ้าง จริงหรือ?
ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เขียงเท้าที่ทำด้วยไม้ อันภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าใบตาล
พระพุทธานุญาตให้สวมรองเท้าเป็นพิเศษ
[๑๐] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุท้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้มีเท้าชอกช้ำ หรือมีเท้าแตก หรืออาพาธมีหน่อที่เท้า สวมรองเท้าได้
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายมีเท้ามิได้ล้าง ขึ้นเตียงบ้าง ขึ้นตั่งบ้าง ทั้งจีวร ทั้งเสนาสนะย่อมเสียหาย พวกภิกษุจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สวมรองเท้าในขณะที่คิดว่าประเดี๋ยวจักขึ้นเตียงหรือขึ้นตั่ง.
สมัยต่อมา เวลากลางคืน ภิกษุทั้งหลายเดินไปสู่โรงอุโบสถก็ดี สู่ที่ประชุมก็ดี ย่อมเหยียบตอบ้าง หนามบ้าง ในที่มืด เท้าทั้งสองได้รับบาดเจ็บ ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภายในอาราม เราอนุญาตให้สวมรองเท้า และใช้คบเพลิง ประทีป ไม้เท้าได้.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าไม้
ครั้นต่อมา ถึงเวลาปัจุสมัยแห่งราตรี พระฉัพพัคคีย์ลุกขึ้นสวมเขียงเท้าที่ทำด้วยไม้แล้วเดินอยู่กลางแจ้ง มีเสียงขฏะขฏะ ดังอึกทึก กล่าวดิรัจฉานกถา มีเรื่องต่างๆ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร เรื่องมหาอำมาตย์ เรื่องขุนพล เรื่องภัย เรื่องรบ เรื่องข้าว เรื่องน้ำ เรื่องผ้า เรื่องที่นอน เรื่องดอกไม้ เรื่องของหอม เรื่องญาติ เรื่องยาน เรื่องบ้าน เรื่องนิคม เรื่องนคร เรื่องชนบท เรื่องสตรี เรื่องบุรุษ เรื่องคนกล้าหาญ เรื่องตรอก เรื่องท่าน้ำ เรื่องคนที่ล่วงลับไปแล้ว เรื่องเบ็ดเตล็ด เรื่องโลก เรื่องทะเล เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วยประการนั้นๆ เหยียบแมลงตายเสียบ้าง ยังภิกษุทั้งหลายให้เคลื่อนจากสมาธิบ้าง บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย .... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์ เมื่อเวลาปัจจุสมัยแห่งราตรี ได้ลุกขึ้นสวมเขียงเท้าที่ทำด้วยไม้แล้วเดินอยู่กลางแจ้ง มีเสียงขฏะขฏะ ดังอึกทึก กล่าวดิรัจฉานกถา มีเรื่องต่างๆ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร .... เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วยประการนั้นๆ เหยียบแมลงตายเสียบ้าง ยังภิกษุทั้งหลายให้เคลื่อนจากสมาธิบ้าง แล้วจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุฉัพพัคคีย์ เมื่อปัจจุสมัยแห่งราตรี ได้ลุกขึ้นสวมเขียงเท้าที่ทำด้วยไม้ แล้วเดินอยู่กลางแจ้ง มีเสียงขฏะขฏะดังอักทึก กล่าวดิรัจฉานกถา มีเรื่องต่างๆ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร .... เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วยประการนั้นๆ เหยียบแมลงตายเสียบ้าง ยังภิกษุทั้งหลายให้เคลื่อนจากสมาธิบ้าง จริงหรือ?
ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เขียงเท้าที่ทำด้วยไม้ อันภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าใบตาล
[๑๑] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระนครราชคฤห์ ตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่จาริกทางพระนครพาราณสี เสด็จพระพุทธดำเนินสู่จาริกโดยลำดับ ถึงพระนครพาราณสี ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ในป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสีนั้น.
ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์คิดว่า พระผู้มีพระภาคทรงห้ามเขียงเท้าไม้ จึงให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลมาทำเขียงเท้าสวม ต้นตาลเล็กๆ นั้นถูกตัดแล้วย่อมเหี่ยวแห้ง. ชาวบ้านจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลมาทำเขียงเท้าสวมเล่า ต้นตาลเล็กๆ ถูกตัดแล้วย่อมเหี่ยวแห้ง พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเบียดเบียนอินทรีย์อย่างหนึ่งซึ่งมีชีวะ ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุฉัพพัคคีย์สั่งให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลมาทำเขียงเท้าสวม ต้นตาลเล็กๆ นั้นถูกตัดแล้ว ย่อมเหี่ยวแห้ง จริงหรือ?
ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าจึงทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้ให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลทำเขียงเท้าสวมเล่า ต้นตาลเล็กๆ นั้นถูกตัดแล้ว ย่อมเหี่ยวแห้ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาวบ้านมีความสำคัญในต้นไม้ว่ามีชีวะ การกระทำของเหล่าโมฆบุรุษนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เขียงเท้าสานด้วยใบตาล อันภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าไม้ไผ่
ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์คิดว่า พระผู้มีพระภาคทรงห้ามเขียงเท้าไม้ จึงให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลมาทำเขียงเท้าสวม ต้นตาลเล็กๆ นั้นถูกตัดแล้วย่อมเหี่ยวแห้ง. ชาวบ้านจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลมาทำเขียงเท้าสวมเล่า ต้นตาลเล็กๆ ถูกตัดแล้วย่อมเหี่ยวแห้ง พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเบียดเบียนอินทรีย์อย่างหนึ่งซึ่งมีชีวะ ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุฉัพพัคคีย์สั่งให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลมาทำเขียงเท้าสวม ต้นตาลเล็กๆ นั้นถูกตัดแล้ว ย่อมเหี่ยวแห้ง จริงหรือ?
ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าจึงทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้ให้ตัดต้นตาลเล็กๆ แล้วเอาใบตาลทำเขียงเท้าสวมเล่า ต้นตาลเล็กๆ นั้นถูกตัดแล้ว ย่อมเหี่ยวแห้ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาวบ้านมีความสำคัญในต้นไม้ว่ามีชีวะ การกระทำของเหล่าโมฆบุรุษนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เขียงเท้าสานด้วยใบตาล อันภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าไม้ไผ่
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์คิดว่า พระผู้มีพระภาคทรงห้ามเขียงเท้าสานด้วยใบตาล จึงได้ให้ตัดไม้ไผ่เล็กๆ แล้วเอาใบไผ่มาทำเขียงเท้าสวม ไม้ไผ่เล็กๆ นั้น ถูกตัดแล้ว ย่อมเหี่ยวแห้ง. ชาวบ้านจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ให้ตัดไม้ไผ่เล็กๆ แล้วเอาใบไผ่มาทำเขียงเท้าสวมเล่า ไม้ไผ่เล็กๆ นั้นถูกตัดแล้วย่อมเหี่ยวแห้ง พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรย่อมเบียดเบียนอินทรีย์อย่างหนึ่งซึ่งมีชีวะ. ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า .... ครั้นแล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เขียงเท้าสานด้วยใบไผ่ อันภิกษุ ไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าต่างชนิด
[๑๒] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จพระพุทธดำเนินจาริกทางพระนครภัททิยะ เสด็จพระพุทธดำเนินจาริกโดยลำดับถึงพระนครภัททิยะ ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ในป่าชาติยาวันเขตพระนครภัททิยะนั้น.
ก็โดยสมัยนั้นแล พวกภิกษุชาวพระนครภัททิยะ ตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ พวกเธอละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญาเสีย. บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย .... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนเล่าพวกภิกษุชาวพระนครภัททิยะ จึงได้ตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงสานด้วยหญ้าปล้อง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ ภิกษุเหล่านั้นได้ละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญาเสีย แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าพวกภิกษุชาวพระนครภัททิยะตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ ย่อมละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญาเสีย จริงหรือ?
ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนเล่าโมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้ตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ โมฆบุรุษเหล่านั้นได้ละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิจิต อธิปัญญาเสีย ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของเหล่าโมฆบุรุษนั่นไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมเขียงเท้าสานด้วยหญ้า เขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย เขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง เขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง เขียงเท้าสานด้วยแฝก เขียงเท้าสานด้วยขนสัตว์ เขียงเท้าประดับด้วยทองคำ เขียงเท้าประดับด้วยเงิน เขียงเท้าประดับด้วยแก้วมณี เขียงเท้าประดับด้วยแก้วไพฑูรย์ เขียงเท้าประดับด้วยแก้วผลึก เขียงเท้าประดับด้วยทองสัมฤทธิ์ เขียงเท้าประดับด้วยกระจก เขียงเท้าทำด้วยดีบุก เขียงเท้าทำด้วยสังกะสี เขียงเท้าทำด้วยทองแดง รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง เขียงเท้าบางชนิดที่สำหรับสวมเดิน อันภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตเขียงเท้าที่ตรึงอยู่กับที่ ไม่ใช่สำหรับใช้สวมเดิน ๓ ชนิด คือ เขียงเท้าที่สำหรับเหยียบถ่ายอุจจาระ ๑ เขียงเท้าที่สำหรับเหยียบถ่ายปัสสาวะ ๑ เขียงเท้าที่สำหรับเหยียบในที่ชำระ ๑.
ติณณ์รองเท้าแตะยางพารา คุณภาพดี สวมใส่สบาย ไม่ลื่น และถูกต้องตามหลักพระวินัยสงฆ์ ทั้งสีและแบบ พระใส่แล้วไม่ต้องปลงอาบัติ มีเบอร์ 37-44 ราคาคู่ละ 250 บาท พร้อมกล่องและถุงผ้า สามารถถวายเป็นสังฆทาน
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า .... ครั้นแล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เขียงเท้าสานด้วยใบไผ่ อันภิกษุ ไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระพุทธบัญญัติห้ามสวมเขียงเท้าต่างชนิด
[๑๒] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จพระพุทธดำเนินจาริกทางพระนครภัททิยะ เสด็จพระพุทธดำเนินจาริกโดยลำดับถึงพระนครภัททิยะ ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ในป่าชาติยาวันเขตพระนครภัททิยะนั้น.
ก็โดยสมัยนั้นแล พวกภิกษุชาวพระนครภัททิยะ ตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ พวกเธอละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญาเสีย. บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย .... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนเล่าพวกภิกษุชาวพระนครภัททิยะ จึงได้ตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงสานด้วยหญ้าปล้อง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ ภิกษุเหล่านั้นได้ละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญาเสีย แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค
พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าพวกภิกษุชาวพระนครภัททิยะตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ทำเองบ้าง สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ ย่อมละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญาเสีย จริงหรือ?
ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนเล่าโมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้ตั้งหน้าพากเพียรตกแต่งเขียงเท้าหลากหลายอยู่ คือ ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้า ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าสานด้วยแฝก ได้ทำเองบ้าง ได้สั่งให้ทำบ้าง ซึ่งเขียงเท้าถักด้วยขนสัตว์ โมฆบุรุษเหล่านั้นได้ละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิจิต อธิปัญญาเสีย ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของเหล่าโมฆบุรุษนั่นไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส .... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวมเขียงเท้าสานด้วยหญ้า เขียงเท้าสานด้วยหญ้ามุงกระต่าย เขียงเท้าสานด้วยหญ้าปล้อง เขียงเท้าสานด้วยใบเป้ง เขียงเท้าสานด้วยแฝก เขียงเท้าสานด้วยขนสัตว์ เขียงเท้าประดับด้วยทองคำ เขียงเท้าประดับด้วยเงิน เขียงเท้าประดับด้วยแก้วมณี เขียงเท้าประดับด้วยแก้วไพฑูรย์ เขียงเท้าประดับด้วยแก้วผลึก เขียงเท้าประดับด้วยทองสัมฤทธิ์ เขียงเท้าประดับด้วยกระจก เขียงเท้าทำด้วยดีบุก เขียงเท้าทำด้วยสังกะสี เขียงเท้าทำด้วยทองแดง รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง เขียงเท้าบางชนิดที่สำหรับสวมเดิน อันภิกษุไม่พึงสวม รูปใดสวม ต้องอาบัติทุกกฏ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตเขียงเท้าที่ตรึงอยู่กับที่ ไม่ใช่สำหรับใช้สวมเดิน ๓ ชนิด คือ เขียงเท้าที่สำหรับเหยียบถ่ายอุจจาระ ๑ เขียงเท้าที่สำหรับเหยียบถ่ายปัสสาวะ ๑ เขียงเท้าที่สำหรับเหยียบในที่ชำระ ๑.
ขอบคุณที่มา : www.84000.org
Tritanium-Arts.com - titanium framing hammer
ตอบลบTritanium-Arts.com is titanium band ring the leading technology titanium astroneer in the manufacturing womens titanium wedding bands of titanium-art. The result is that we are titanium rings for women using all the components of black titanium this
g131g1rreid632 custom sex doll,wholesale sex toys,sex chair,black dildos,fantasy toys,bullets and eggs,Clitoral Vibrators,realistic dildo,cheap sex toys d516e5gepzq053
ตอบลบg151j0dakda395 dildos,dildos,dog dildo,G-Spot Vibrators,wolf dildo,G-Spot Vibrators,women sexy toys,horse dildo,vibrators e602l3yesnt293
ตอบลบIf you select to play with crypto, your options are Bitcoin, Bitcoin Cash, USD Tether, Litecoin, and Ethereum. Meanwhile, to track your rewards factors, have the ability to|you possibly can} head over to the My Slots Rewards section. You can convert your factors into cash at any level, and surprises are often handed out to loyal gamers. The software is clean, the tables are anonymous, and participant data isn’t tracked. Once your cash arrives, have the ability to|you possibly can} flick thru the categories and select a slot to play. The 우리카지노 last and most essential facet we contemplate is how satisfied the customers are, along with the popularity and the extent of the on line casino.
ตอบลบ